หมอดูแม่น ดูดวงจิตสัมผัสดวง ดูทางโทรศัพท์ 299 บาท ออกรายการช่อง 3 และเสาร์ 5

แก้ไขและเสริมบัตรประชาชน-บัตร ATM

การตั้งรหัสบัตรเอเทีเอ็มทั้ง 4 ตัวและ 6 ตัว

มีความสำคัญมาก เพราะตัวเลขแต่ละตัวจะแทนค่าดวงดาวต่างๆ

ตามหลักโหราศาสตร์ถ้าตั้งรหัสบัตรเอทีเอ็มให้มีตัวเลขดวงดาวที่ดี

ถูกโฉลกกับ วัน เดือน ปี เกิด ของตัวเรา ก็จะส่งผลให้การเงินดี ไหลลื่นไหลคล่อง

มีโชคลาภเข้ามาตลอดเวลาแต่ในทางกลับกันถ้าตั้งรหัสบัตรเอเทีเอ็มมีตัวเลขดวงดาว

ไม่ถูกโฉลกกับ วัน เดือน ปี เกิด ของตัวเราก็จะส่งผลเสียให้ การเงินรั่วไหล ได้มาจ่ายออก

เก็บเงินไม่ค่อยอยู่ วิธีการตั้งรหัสบัตรเอทีเอ็มให้ถูกโฉลกกับตัวเราและ

ใช้ได้กับทุกธนาคาร มีดังนี้

1. นำ วัน เดือน ปี เกิด ของลูกค้าแต่ละท่านมาถอดรหัสดวงดาว เพื่อให้ได้ตัวเลขที่ดีที่สุด

โดยอาจารย์บารมี  ธรรมะบันดาลจะเป็นผู้คำนวนเองและนำตัวเลขดวงดาวมาวาง

ในตำแหน่งขุมทรัพย์และตำแหน่งราชาโชคบนตัวเลขทั้ง 4 ตัว หรือ 6 ตัว

ของรหัสบัตรเอทีเอ็ม

2. เสริมบัตรเอทีเอ็มให้ดียิ่งขึ้น ด้วยซองเสริมทรัพย์ผ่านการปลุกเสกเสาร์ 5

โดยอาจารย์จะเป็นผู้เลือกสีที่ถูกโฉลกกับ วัน เดือน ปี เกิด ของลูกค้าแต่ละท่าน

3. เสริมบัตรประชาชนให้ดียิ่งขึ้นด้วยซองเสริมทรัพย์ผานการปลุกเสกเสาร์ 5

กรณีวิเคราะห์โปรแกรมบัตรประชาชนแล้วตัวเลข 13 หลักไม่ดี

สามารถแก้ไขแก้เคล็ดด้วยซองเสริมทรัพย์เลือกสีที่ถูกโฉลก

กับ วัน เดือน ปี เกิด ของท่าน

กรณีขอเลขรหัสบัตรเอทีเอ็ม

1. จะมีรหัสบัตรเอทีเอ็ม 4 หลัก และ 6 หลัก

2.เสริมให้ดีขึ้นด้วยซองเสริมทรัพย์ บัตร ATM

ใช้สีที่ถูกโฉลกกับดวงชะตาก็จะเสริมให้ดีขึ้นได้ จำนวน 1 ใบ

3. เสริมให้ดีขึ้นด้วยซองเสริมทรัพย์บัตรประชาชน

ใช้สีที่ถูกโฉลกกับดวงชะตาก็จะเสริมให้ดีขึ้นได้ จำนวน 1 ใบ

4. พร้อมพวงกุญแจยันต์ 5 แถวมหาเศรษฐี

ทั้งเซ็ทค่าบูชา 699 บาท

 ***********************************************************************

เลขประจำตัวประชาชนในบัตรประชาชน หรือที่เดี๋ยวนี้เรียก สมาร์ทการ์ด

ที่มีด้วยกัน 13 หลักและแต่ละหลักก็มิใช่แค่เป็นเพียงจำนวนนับธรรมดาๆ

แต่มีความหมายแฝงอยู่ด้วยขอนำมาเสนอเพื่อเป็นความรู้ ดังนี้

สมมุติว่า เลขบัตรประชาชนของเราเขียนไว้ว่า 1 1001 01245 29 9

(เขียนเว้นวรรค ตามแบบ) แต่ละหลักก็จะมีความหมายดังนี้

หลักที่ 1 (คือหมายเลข 1 ในตัวอย่าง) จะหมายถึง ประเภทบุคคล

ซึ่งมีอยู่ 8 ประเภทได้แก่

ประเภทที่ 1 คือ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย และได้แจ้งเกิดภายในกำหนดเวลา

หมายความว่าเด็กคนใดก็ตามที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2527 เป็นต้นไป

อันเป็นวันเริ่มแรกที่เขาประกาศให้ประชาชนทุกคน ต้องมีเลขประจำตัว 13 หลัก

เมื่อพ่อแม่ผู้ปกครองไปแจ้งเกิดที่อำเภอหรือสำนักทะเบียนในเขตที่อยู่ภายใน 15 วัน

นับแต่เกิดมา ตามที่กฎหมายกำหนดเด็กคนนั้นก็ถือเป็นบุคคลประเภท 1

และจะมีเลขประจำตัวขึ้นด้วยเลข 1 เช่น เด็กหญิง ญาดาเกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2527

และพ่อไปแจ้งเกิดที่เขตดุสิตภายในวันที่ 17 มกราคม 2527 เด็กหญิงญาดา

ก็จะมีหมายเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 1 และก็ต่อด้วยเลขหลักอื่นๆ อีก 12 ตัว

เป็น 1 1001 01245 29 9 เป็นต้นซึ่งเลขนี้จะปรากฏในทะเบียนบ้าน

และจะเป็นเลขประจำตัวเมื่อญาดาไปทำบัตรประชาชนตอนอายุ 15 ปี

*****************************************************************

ประเภทที่ 2 คือ คนที่เกิดและมีสัญชาติไทย ได้แจ้งเกิดเกินกำหนดเวลา

หมายความว่า เด็กคนใดก็ตามที่เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2527 เป็นต้นไป

แล้วบังเอิญว่าพ่อแม่ผู้ปกครองลืมหรือติดธุระ ทำให้ไม่สามารถไปแจ้งเกิดที่อำเภอ

หรือเขตภายใน 15 วันตามกฎหมายกำหนด เมื่อไปแจ้งภายหลัง เด็กคนนั้นก็จะกลาย

เป็นบุคคลประเภท 2 และจะมีเลขตัวแรกในทะเบียนบ้านขึ้นด้วยเลข 2 ทันที

เช่น ในกรณีญาดา หากพ่อไปแจ้งเกิดให้ ในวันที่ 18 มกราคม 2527 หรือเกินกว่านั้น

ญาดาก็จะมีเลขประจำตัวเป็น 2 1001 01245 29 9 ในทะเบียนบ้าน

และเมื่อไปทำบัตรประชาชนในภายหน้า

*************************************************************************
ประเภทที่ 3 คือ คนไทยและคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว

และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ในสมัยเริ่มแรก (คือตั้งแต่ก่อนวันที่ 31 พฤษภาคม 2527)

หมายความว่า บุคคลใดก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นคนไทย หรือคนต่างด้าว

ที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน

ณ ที่ใดที่หนึ่งในประเทศไทย มาตั้งแต่ก่อนวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2527

คนนั้นถือว่าเป็นบุคคลประเภท 3 และก็จะมีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 3

เช่น ญาดา เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2501 และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแล้ว

ส้มจี๊ดก็จะมีเลขประจำตัวในทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชนเป็น 3 1001 01245 29 9

***********************************************************************
ประเภทที่ 4 คือ คนไทยและคนต่างด้าว ที่มีใบสำคัญคนต่างด้าวแต่แจ้งย้ายเข้า

โดยยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ในสมัยเริ่มแรก หมายความว่า

คนไทยหรือคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญคนต่างด้าว ที่อาจจะเป็นบุคคลประเภท 3 คือ

มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดิมอยู่แล้วแต่ยังไม่ทันได้เลขประจำตัว ก็ขอย้ายบ้าน

ไปเขตหรืออำเภออื่น ก่อนช่วงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2527

ก็จะเป็นบุคคลประเภท 4 ทันที เช่น ญาดามีชื่ออยู่ในสำนักทะเบียนเขตคลองสาน

มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2501ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2527  ญาดา ก็ขอย้ายบ้านไปเขตดุสิต

โดยที่ญาดายังไม่ทันได้เลขประจำตัวจากเขตคลองสาน พอแจ้งย้ายเข้าเขตดุสิต

ญาดาก็จะกลายเป็นบุคคลประเภท 4 มีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วย 4

กลายเป็น 4 1001 01245 29 9 ทันที แต่ถ้า ญาดาย้ายจากเขตคลองสานเดิม ไปเขตดุสิต

หลังวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 ส้มจี๊ดก็ยังเป็นบุคคลประเภท 3 อยู่ เพราะถือว่าจะได้

เลขประจำตัวจากเขตคลองสานแล้ว จะย้ายอย่างไรก็ไม่เปลี่ยนแปลง

********************************************************************************
ประเภทที่ 5 คือ คนไทยที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มชื่อ เข้าไปในทะเบียนบ้านในกรณีตกสำรวจ

หรือกรณีอื่นๆ เช่น ญาดามีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเขตดุสิตอยู่แล้ว แต่บังเอิญว่าตอนที่มี

การสำรวจรายชื่อผู้อยู่ในบ้าน เกิดความผิดพลาดทางเทคนิค ทำให้ชื่อของส้มจี๊ดหายไป

จากทะเบียนบ้าน เมื่อไปแจ้งเจ้าหน้าที่และตรวจสอบแล้วว่าตกสำรวจจริง

หรือจะเป็นเพราะกรณีอื่นใดก็ตาม เจ้าหน้าที่ก็จะเพิ่มชื่อให้

แต่ญาดาก็จะมีหมายเลขในทะเบียนบ้านเป็นบุคคลประเภท 5 และบัตรประชาชน

จะขึ้นต้นด้วยเลข 5 ทันที คือ กลายเป็น 5 1001 01245 29 9

**************************************************************************
ประเภทที่ 6 คือ ผู้ที่เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และผู้ที่เข้าเมือง

โดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในลักษณะชั่วคราว กล่าวคือ

คนที่มาอาศัยอยู่ในประเทศไทยแต่ยังไม่ได้สัญชาติไทย

เพราะทางการยังไม่รับรองทางกฎหมายเช่น ชนกลุ่มน้อยตามชายแดน

หรือชาวเขากลุ่มนี้ถือว่าเป็นผู้เข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย

ส่วนบุคคลที่เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ชั่วคราว

เช่น นักท่องเที่ยวหรือชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทย แม้บางคน

จะถือพาสปอร์ตประเทศของตน แต่อาจจะมีสามีหรือภริยาคนไทย

จึงไปขอทำทะเบียนประวัติเพื่อให้มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านสามีหรือภริยา

คนทั้งสองแบบที่ว่า ถือว่าเป็นบุคคลประเภท 6 เลขประจำตัวในบัตร

จะขึ้นต้นด้วยเลข 6 เช่น 6 1012 23458 12

**************************************************************************

ประเภทที่ 7 คือ บุตรของบุคคลประเภทที่ 6 ซึ่งเกิดในประเทศไทย

คนกลุ่มนี้ในทะเบียนประวัติจะมีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 7 เช่น 7 1012 2345 133

***************************************************************************
ประเภทที่ 8 คือ คนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยถูกต้องตามกฎหมาย

คือ ผู้ที่ได้รับใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หรือคนที่ได้รับการแปลงสัญชาติ

เป็นสัญชาติไทย และคนที่ได้รับการให้สัญชาติไทย

ตั้งแต่หลังวันที่ 31 พฤษภาคม 2527 เป็นต้นไปจนปัจจุบัน คนกลุ่มนี้เลขในทะเบียน

ประวัติจะขึ้นด้วยเลข 8 เช่น 8 1018 01234 24 7

***************************************************************************
คนทั้ง 8 ประเภทนี้ จะมีเพียงประเภทที่ 3, 4 และ 5 เท่านั้น ที่จะมีบัตรประชาชนได้เลย

ส่วนประเภทที่ 1 และ 2 จะมีบัตรประชาชนได้ ก็ต่อเมื่อมีอายุถึงเกณฑ์

ทำบัตรประจำตัวประชาชนคืออายุ 15 ปี แต่สำหรับบุคคลประเภทที่ 6, 7 และ 8

จะมีเพียงทะเบียนประวัติเล่มสีเหลืองเท่านั้นจะไม่มีการออกบัตรประชาชนให้

*************************************************************************
ต่อไปคือ หลักที่ 2 ถึงหลักที่ 5 (เลข 1001 ในตัวอย่างหรือสี่ตัวถัดไปจากตัวแรก)

จะหมายถึงรหัสของสำนักทะเบียน หรืออำเภอที่เรามีชื่ออยู่ในทะเบียนขณะที่ให้เลข

ซึ่งก็หมายถึงถิ่นที่อยู่ของเรานั่นเอง กล่าวคือ เลขหลักที่ 2 และ 3 จะหมายถึงจังหวัดที่อยู่

ส่วนหลักที่ 4 และ 5 หมายถึงเขตหรืออำเภอในจังหวัดนั้นๆ เช่น ถ้าเขียนว่า 1001

ก็หมายถึงว่าคุณอาศัยอยู่ที่กรุงเทพฯ ในเขตดุสิต เพราะ 100 ในหลักที่ 2 และ 3

หมายถึงกรุงเทพมหานครส่วนเลข 01 ในหลักที่ 4 และ 5 คือรหัสของ

สำนักทะเบียนเขตดุสิตหรือถ้าเขียนว่า 1101 ก็จะหมายถึง อยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการ

อำเภอเมือง เพราะ 11 แรกคือรหัสจังหวัดสมุทรปราการและ 01 หลัง

คือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นต้น

***********************************************************************
สำหรับ หลักที่ 6 ถึงหลักที่ 10 (เลข 01245 ในตัวอย่าง) จะหมายถึง กลุ่มที่ของบุคคล

แต่ละประเภทตามหลักแรก (หลักที่ 1) ซึ่งทางสำนักทะเบียนในแต่ละแห่ง

ก็จะจัดกลุ่มเรียงไปตามลำดับหรือหากเป็นเด็กเกิดใหม่ในปัจจุบัน เลขดังกล่าว

ก็จะหมายถึงเล่มที่ของสูติบัตร (ใบแจ้งเกิดที่อำเภอหรือเขตออกให้) ซึ่งก็คือ

เลขประจำตัวในทะเบียนบ้านของเด็กที่แต่ละอำเภอหรือเขตออกให้

และจะไปปรากฎในบัตรประชาชน เมื่อถึงอายุต้องทำบัตรนั่นเอง

แต่ถ้ายังไม่ถึงเกณฑ์เลขนี้ก็จะปรากฏอยู่แค่ในทะเบียนบ้านของเด็กเท่านั้น

**********************************************************************
หลักที่ 11 และ 12 (หมายเลข 29 ในตัวอย่างสมมุติ) จะหมายถึง ลำดับที่ของบุคคล

ในแต่ละกลุ่มประเภทเป็นการจัดลำดับว่าเราเป็นคนที่เท่าไรในกลุ่มของบุคคลประเภทนั้นๆ

*********************************************************************

หลักที่ 13 (เลข 9 ตัวสุดท้ายในตัวอย่าง) จะหมายถึง ตัวเลขสำหรับตรวจสอบ

ความถูกต้องของเลขทั้ง 12 หลักแรกอีกที

สำหรับเลขตั้งแต่หลักที่ 6 ถึง 13 นี้เป็นการจัดหมวดหมู่ และเรียงลำดับบุคคล

ในแต่ละประเภทของสำนักทะเบียนในแต่ละท้องที่ ซึ่งเราก็คงไม่ต้องรู้รายละเอียด

อะไรลึกไปกว่านี้เพราะรู้แล้วอาจจะงงเปล่าๆ

เป็นเรื่องน่าแปลกว่า ตัวเลข 13 หลักที่เป็นหมายเลขในบัตรประชาชน

หรือเลขประจำตัวประชาชนของเราแต่ละคน จะไม่มีการซ้ำกันเลย

และจะเป็นเลขประจำตัวเราจนตาย ไม่มีการเปลี่ยน หรือยกให้คนอื่น

ตัวเลข 13 หลักที่กล่าวข้างต้น  เป็นเลขประจำตัวประชาชนของแต่ละคน

มีความสำคัญในการกรอกเอกสารเช่น การสมัครเรียน สมัครงาน

ทำธุรกรรมทางธนาคาร ซื้อรถ ซื้อบ้าน ทำหนังสือเดินทาง พาสปอร์ต ฯลฯ

ถ้าตัวเลขในบัตรประชาชน 13 หลัก เปรียบเสมือนดวงดาว ทั้ง 13 ตัว

และตัวเลขดวงดาว 3 ตัวหลัง จะส่งผลได้แรงที่สุดถ้าตัวเลขดวงดาวไม่ดี

ขั้นตอนการชำระเงินเข้าไปดูได้ที่ หัวข้อ ขั้นตอนวิธีการชำระเงิน

หรือ ติดต่อสอบถามที่เซ็นเตอร์ 085-163-5566, 085-163-5599 และ 02-875-4400